มะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่คร่าชีวิตสตรีกว่าปีละสองแสนคน

นายแพทย์ธีธัช  มังกรทอง อาจารย์แพทย์สาขาวิชาสูตินรีเวชกรรม ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เผยว่า มะเร็งปากมดลูกเป็นหนึ่งในสาเหตุที่คร่าชีวิตสตรีกว่าปีละ 200,000 คน โดยมะเร็งปากมดลูกนั้นพบบ่อยเป็นอันดับ 4 ทั่วโลก โดยหากพิจารณาในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา เช่น ประเทศไทย พบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 ของสตรีโดยทั่วไป

นพ.ธีธัช มังกรทอง

ปัจจุบันนั้นเป็นที่ยอมรับถึงสาเหตุสำคัญของการเกิดรอยโรคในเยื้อบุมะเร็งปากมดลูก นั้นเกิดจากจากติดเชื้อเอชพีวีกลุ่มความเสี่ยงสูง ประกอบไปด้วยสายพันธุ์ชนิด 16,18,31,33,35,39,45,51,52,56,58,59,61,66-68,73, และ 82 โดยเฉพาะสายพันธุ์ 16 และ 18 นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นร่วมด้วย เช่น ภาวะภูมิต้านทานต่ำ พฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ทั้งการมีเพศสัมพันธุ์ตั้งแต่อายุยังน้อย การมีคู่นอนหลายคน หรือประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

แนวทางในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกปฐมภูมิ นอกเหนือจากการรณรงค์ให้ความรู้ด้านสุขภาพและเพศศึกษาแก่สตรีแล้ว ยังรวมถึงการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวี ซึ่งในปัจจุบันวัคซีนมีจำหน่ายทั้งหมด สามชนิด ได้แก่ วัคซีนชนิด 2 สายพันธุ์ (bivalent HPV vaccine) วัคซีนชนิด 4 สายพันธุ์ (quadrivalent HPV vaccine) และวัคซีนชนิด 9 สายพันธุ์ (nonavalent HPV vaccine) สำหรับการได้รับวัคซีนเอชพีวีที่เหมาะสมทำได้ดังนี้

นายแพทย์ธีธัช  มังกรทอง อาจารย์แพทย์สาขาวิชาสูตินรีเวชกรรม ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เผยว่า มะเร็งปากมดลูกเป็นหนึ่งในสาเหตุที่คร่าชีวิตสตรีกว่าปีละ 200,000 คน โดยมะเร็งปากมดลูกนั้นพบบ่อยเป็นอันดับ 4 ทั่วโลก โดยหากพิจารณาในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา เช่น ประเทศไทย พบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 ของสตรีโดยทั่วไป

ปัจจุบันนั้นเป็นที่ยอมรับถึงสาเหตุสำคัญของการเกิดรอยโรคในเยื้อบุมะเร็งปากมดลูก นั้นเกิดจากจากติดเชื้อเอชพีวีกลุ่มความเสี่ยงสูง ประกอบไปด้วยสายพันธุ์ชนิด 16,18,31,33,35,39,45,51,52,56,58,59,61,66-68,73, และ 82 โดยเฉพาะสายพันธุ์ 16 และ 18 นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นร่วมด้วย เช่น ภาวะภูมิต้านทานต่ำ พฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ทั้งการมีเพศสัมพันธุ์ตั้งแต่อายุยังน้อย การมีคู่นอนหลายคน หรือประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

แนวทางในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกปฐมภูมิ นอกเหนือจากการรณรงค์ให้ความรู้ด้านสุขภาพและเพศศึกษาแก่สตรีแล้ว ยังรวมถึงการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวี ซึ่งในปัจจุบันวัคซีนมีจำหน่ายทั้งหมด สามชนิด ได้แก่ วัคซีนชนิด 2 สายพันธุ์ (bivalent HPV vaccine) วัคซีนชนิด 4 สายพันธุ์ (quadrivalent HPV vaccine) และวัคซีนชนิด 9 สายพันธุ์ (nonavalent HPV vaccine) สำหรับการได้รับวัคซีนเอชพีวีที่เหมาะสมทำได้ดังนี้

 

ข่าว / น.ส.อาธร  สิทธิสาร
ผู้ตรวจข่าว / พ.ญ.กนิษฐา  กิจสมบัติ